ผลงานเขียน และแปล ชุดอมตะของ "จิตรภูมิศักดิ์"- คนขี่เสือ ภวานี ภัฏฏาจารย์ เขียน จิตร ภูมศักดิ์ แปล, แม่ แมกซิม กอร์กี้ เขียน
หนังสือชุด ผู้นำจีน สีจิ้นผิง ได้แก่ จีนในอนาคต คำปราศรัยของสีจิ้นผิง 1 กรกฎาคม 2016 เนื่องในวันก่อตั้งพรรคคอมมิวนิสต์จีนครบรอบ 95 ปี และ จีนก้าวหน้า
สุดยอดหลักคิดและทฤษฎีแห่งศตวรรษ ของ "คาร์ล มาร์กซ์" ซึ่งได้ประยุกต์ใช้ปรัชญา "วัตถุนิยมวิภาษและวัตถุนิยมประวัติศาสตร์" อันเป็นวิทยาศาสตร์สังคมของตนมาค้นคว้า และอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างทุนกับแรงงาน ซึ่งเป็นแกนกลางที่ระบบสังคมปัจจุบันได้อาศัยหมุนเวียนเคลื่อนตัว
"ผู้คนและเส้นทาง" หลายคน หลายรุ่น หลายยุค บนเส้นทางเดินร่วมกัน ประพันธ์โดย "เซินตุ่ง" แปลโดย "แดง" และแฉล้ม เสงี่ยม
หนังสือชุด ชีวประวัติผู้นำเพื่อนบ้าน โฮจิมินห์ เทพเจ้าผู้ยังมีลมหายใจ, หวอเหงียนย้าป จอมทัพคู่บารมีโฮจิมินห์, เรียนรู้ประวัติศาสตร์ลาวผ่านชีวิต "เจ้าสุพานุวง" โดย ศุขปรีดา พนมยงค์
ผลงานอมตะของ "รพินทรนาถ ฐากุร" และ "กาลิทาส" แปลโดย กรุณา-เรืองอุไร กุศลาสัย
วัฒนธรรมเกิดขึ้นจากวิถีชีวิตการทำมาหากินชนพื้นเมืองดั้งเดิมในดินแดนอาเซียนรู้จักปลูกข้าวมานานมากแล้วก่อนที่วัฒนธรรมพราหมณ์ วัฒนธรรมพุทธจะแพร่มาถึงและมีอิทธิพลเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ กระทั่งกลบกลสืนวัฒนธรรมผีแถนดั้งเดิมไปเกือบหมด ประเพณีดั้งเดิมในสิบสองเดือนเกี่ยวพันโดยตรงกับการปลูกข้าว แถน, ผีบรรพบุรุษ และ ขวัญข้าว (ปู่ขวัญข้าว, นางข้าว, แม่โพสพฯ)
นิทานเวตาลเล่าสู่กันฟังมาไม่ต่ำกว่าพันปี ทั้งโดยปากต่อปากและลายลักษณ์อักษร และเป็นที่ประทับใจคนไทยมานานนัก ศาสตราจารย์ ดร.ศักดิ์ศรี แย้มนัดดา คุรุแห่งวรรณคดีสันสกฤตดั้นด้นค้นหาจนได้ต้นฉบับสมบูรณ์ นำมาแปลถ่ายทอดด้วยความอุตสาหะและใจรักทั้งสอบทานกับต้นฉบับตัวพิมพ์อักษรเทวนาครีอย่างพิถีพิกถัน จนได้ “เวตาลปัญจวิงศติ”
โมฆสงคราม เป็นหนังสือที่นายปรีดี ได้แสดงความสำคัญทางประวัติศาสตร์ของขบวนการเสรีไทยที่มีต่อการกอบกู้เอกราชของชาติไทยในสงครามโลกครั้งที่ 2 หากงานเขียนเรื่องเสรีไทยของท่านที่ผ่านมาเป็นเสมือนภาพร่างแล้วไซร้ งานนิพนธ์ “โมฆสงคราม” จึงเป็นภาพที่ลงรายละเอียดสมบูรณ์ที่สุดเท่าที่ท่านจะค้นคว้าบันทึกไว้ในช่วงบั้นปลายชีวิตของท่าน